Welcome to my blog, hope you enjoy reading
RSS

แคลเซียม (Calcium)

แคลเซียมคืออะไร
หากจะให้บอกถึงเกลือแร่สักตัวหนึ่งที่มีประโยชน์มากๆ ต่อร่างกาย
หนึ่งในนั้น
จะต้องมีแคลเซียม เรารู้จักแคลเซียม มานานในแง่ของ
การช่วยให้กระดู
กแข็งแรง ไม่เพียงเท่านั้นเมื่อไม่นานนี้มี งานวิจัย
ตัวหนึ่งได้พบว่า แคลเซียม สามารถช่วยต่อต้านได้อย่างดีต่อ
ความดันโลหิตสูงอาการหัวใจกำเริบ อาการปวดก่อนมีประจำเดือน
และมะเร็งลำไส้แต่ก็เป็นที่น่าเสียดายที่คนส่
วนใหญ่รับประทาน
แคลเซียม น้อยกว่าครึ่งของที่ควรจะได้รั
บต่อวัน

สำหรับคนที่ไม่สามารถรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูงได้ก็
สามารถทดแทน
ง่ายๆได้ด้วยอาหารเสริม แคลเซียม ที่มีจำหน่าย
อยู่ทั่
วไป และราคาไม่แพงโดยมักจะอยู่ในรูปของ แคลเซียมคาร์
บอเนต แคลเซียมกลูโคเนต แคลเซียมซิเตรด แคลเซียมซิเตรด
มาเลต แคลเซียมแลคเตตและแคลเซียมฟอสเฟต และปริมาณที่
ร่างกายจะได้รับแคลเซียมจากอาหารเสริมเหล่านี้ก็จะขึ้
นกับว่าใน
แต่ละแบบจะให้แคลเซียม แก่ร่างกายเท่าไร เช่นแคลเซียมคาร์
บอเนตจะให้ปริ
มาณแร่ธาตุ แคลเซียม ประมาณ 40% แคลเซียม
กลูโคเนตจะให้ปริมาณแร่
ธาตุ แคลเซียมประมาณ 9%ทั้งนี้ยังขึ้น
กับการดูดซึมเข้
าสู่ร่างกายด้วย มีการค้นพบว่าแร่ธาตุแคลเซียม
ที่ได้จากแคลเซียมซิเตรดจะถูกดู
ดซึมได้ดีกว่าที่ได้จากคอร์บอเนต

"แคลเซียม" เป็นธาตุที่พบมากที่สุดในทุกส่วนของร่างกาย โดย
ในร่างกายคน 50
กิโลกรัม จะมีแคลเซียม อยู่ประมาณ 1 กิโลกรัม
ซึ่งเกือบทั้งหมดจะอยู่ในกระดู
กและฟัน ดังนั้นในเวลากล่าวถึง
แคลเซียม จึงมักจะนึกถึงเฉพาะกระดูกเท่
านั้น แต่ที่จริงแล้วยังมี
แคลเซียม ส่วนอื่นที่อยู่ในเซลล์ที่ไม่
ใช่กระดูกอีกประมาณร้อยละ
1 สำหรับหน้าที่ๆ
สำคัญของแคลเซียม ก็คือ การสร้างกระดูก ซึ่ง
กระดูกทำหน้าที่เป็นโครงสร้
างของร่างกาย รักษารูปร่างและลักษ
ณะของร่
างกายให้สวยงามและยังเป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อเป็น
เกราะป้องกันอวั
ยวะภายในต่างๆ ของร่างกายไม่ให้ได้รับความ
กระทบ
กระเทือน อย่างไรก็ตาม แคลเซียม มิใช่เป็นเพียงตัวเสริม
สร้
างกระดูกให้แข็งแรงเท่านั้น แต่ยังมีหน้าที่สำคัญในการทำงาน
ของเซลล์ต่างๆ ภายในร่างกายอีกด้วย ได้แก่ การช่วยการแข็งตัว
ของเลือด ทำให้เลือดที่
ไหลออกจากบาดแผลเกิดแข็งตัวหยุไหล
ได้นอกจากนี้แคลเซียมยังเกี่ยวข้องกับการทำงานของกล้
ามเนื้อ
และเส้นประสาท ช่วยให้การทำงานของกล้ามเนื้อหั
วใจปกติและ
การส่งสัญญานประสาทที
่ถูกต้อง รักษาความสมดุลของกรดด่าง
ในเลื
อด และความดันโลหิตให้ปกติ

แคลเซียมเข้าสู่ร่างกายอย่างไร
สำหรับการทำงานของแคลเซียมจะเริ่มจากเมื่อร่างกายได้รับแคล
เซียมจากอาหาร ก็จะถูกกรดในกระเพาะทำให้ แคลเซียมแตกตัว
ได้ดีขึ้นและถูกดูดซึมได้
ง่ายขึ้นจากบริเวณลำไส้ส่วนต้น โดยอา
ศัย Calbindin-Dซึ่งปกติแล้วร่างกายจะดูดซึมแคลเซียมได้ประ
มาณร้อยละ 20-40หลังจากนั้น แคลเซียม จะเข้าสู่เลือดผ่
านไป
ตามระบบไหลเวียนโลหิตแล้
วไปสู่อวัยวะต่างๆ ส่วนใหญ่จะเข้าสู่
กระดูก นอกนั้นเข้าสู่เซลล์ต่างๆในร่างกาย ที่เหลือจะถูกขับออก
ทางปัสสาวะ

โดยปกติทั่วไปแม้กระดูกจะไม่ยืดตัวให้เห็นแต่จะมีแคลเซียม
ผ่านเข้าออกจากกระดูก
ถึงวันละประมาณ 700 mg ซึ่งแม้ว่า
เกลือแร่ที่ติดอยู่
ในกระดูกดูเหมือนจะติดอยู่อย่างถาวร แต่อันที่
จริงแล้วแคลเซียมในกระดูกจะถูกดึงออกพร้อมกั
บขบวนการละ
ลายกระดูก (resorption) และเสริมเข้าไปพร้อมกับการสร้
าง
กระดูกใหม่ (formation) อยู่ตลอดเวลา ทั้งนี้ขึ้นกับภาวะโภชนา
การ ปริมาณแคลเซียมความสมดุลของฮอร์โมนและวัย

โดยทั่วไปร่างกายจะพยายามอย่างเต็มที่ในการที่จะรักษาระดับ
แคลเซียมในเลือดให้ปกติเสมอเพื่อให้อวั
ยวะต่างๆ ปฏิบัติหน้าที่
ได้อย่างปกติเปรี
ยบให้ง่ายก็เสมือนว่า ระดับ แคลเซียมที่ปกติก็คือ
จำนวนเงินที่ติดกระเป๋าอยู่
สำหรับใช้จ่ายในแต่ละวันโดยแคลเซียม
ส่วนที่ถูกขับออกทางปัสสาวะและแคลเซียมที่ใช้เพื่อการซ่อมแซม
กระดู
กเปรียบเสมือนค่าใช้จ่ายประจำวันแคลเซียม ในกระดูกเสมือน
เงินฝากในธนาคาร แคลเซียมรับจากอาหารเสมือนรายได้ประจำวั

ถ้ารายรับมากกว่ารายจ่าย อาจมีเหลือเก็บในธนาคารซึ่งเปรี
ยบ
เสมือนเป็นการสะสม
แคลเซียม ในกระดูก ถ้ารายได้น้อยกว่าราย
จ่ายก็ต้
้องถอนจากธนาคารเพื่อนำไปใช้จ่ายก็จะทำให้เกิดการขาด
ดุลซึ่งถ้าเป็นเช่นนี้อยู่เป็
นประจำเงินในธนาคารก็จะร่อยหรอไป นั่น
ก็เปรียบได้กับการที่ร่
างกายได้รับแคลเซียมไม่พอเพียงต่อความ
พยายามรั
กษาระดับแคลเซียม ให้ปกติ จึงต้องละลายแคลเซียม
จากกระดูกมาเพิ่มให้กับเลือดทำ
ให้แคลเซียมในกระดูกค่อยๆลด
ลงสุดท้ายแคลเซียมหรือเงินที่ติดกระเป๋าอยู่ก็
ลดลงจนไม่พอใช้
นั่นเอง ซึ่งจากการศึกษาพบว่าการสะสมแคลเซียม ของร่างกาย
มนุษย์นั้น
เริ่มตั้งแต่ยังเป็นทารกในครรภ์มารดาโดยในแต่ละวัย
ร่
างกายสามารถสะสมปริมาณแคลเซียม ในระดับที่แตกต่างกัน