Welcome to my blog, hope you enjoy reading
RSS

ถั่วเหลือง (Soybean)


ถั่วเหลืองกับสุขภาพ
(Health and Soybean)


ถั่วเหลืองกับภาวะหมดประจำเดือน
ผู้หญิงวัยหมดประจำเดือนมักมีอาการร้อนวูบวาบ หงุดหงิด มี
อาการทาง
ผิวหนังและเยื่อบุบริเวณช่องคลอด (อักเสบ แห้ง) รวม
ทั้งมีอัตราการเป็น
โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis) และอัตรา
เสี่ยงต่อโรคหั
วใจขาดเลือดสูงขึ้นการใช้ฮอร์โมนทดแทนแม้จะ
ช่
วยลดอาการไม่สุขสบายที่เกิดขึ้นแต่ก็มีความเสี่ยงต่อโรคมะเร็
เต้านมการรับประทานอาหารที่ทำจากถั่
วเหลืองซึ่งมีไอโซฟลาโวน
เป็นส่
วนประกอบและมีสูตรโครงสร้างคล้ายเอสโตรเจนอย่างสม่ำ
เสมอ จึงอาจเป็นอีกทางเลือกหนึ่
งของผู้หญิงที่ไม่ต้องการใชฮอร์
โมนทดแทนช่วยลดอาการร้อนวูบวาบแล้วยังช่
วยป้องกันโรคมะ
เร็งเต้
นม และมะเร็งที่พึ่งฮอร์โมนรวมทั้งลดระดับไขมันในเลือด
ได้ มีการศึกษา
จำนวนมากที่บ่งชี้ว่าการบริโภคโปรตีนถั่วเหลืองที่
มีไอโซฟลาโวนหรือการ
เสริมไอโซฟลาโวนสามารถเพิ่มความหนา
แน่นของกระดู
กและลดอาการร้อนวูบวาบที่เกิดจากภาวะหมดประ
จำเดือนนากาตะและคณะศึกษาความ
สัมพันธ์ระหว่างการรับประ
ทานผลิตภัณฑ์ถั
่วเหลืองกับความถี่ของอาการร้อนวูบวาบในผู้หญิง
ญี่ปุ่นผลการศึกษาพบ
ว่าผู้หญิงญี่ปุ่นที่รับประทานผลิ
ภัณฑ์ถั่ว
เหลืองมากทั้งในแง่
ปริมาณรวมของถั่วเหลืองและไอโซฟลาโวน
จะมีความถี่ของอาการร้อนวูบวาบน้อยกว่ามีรายงานว่าผู้หญิงวั
หมดประจำ
เดือนในยุโรปมีอาการร้อนวูบวาบร้อยละ 70-80 ขณะ
ที่ผู้หญิงวัยหมดประจำ
เดือนในมาเลเซีย จีนและสิงคโปร์มีอาการ
ร้อนวู
บวาบร้อยละ 57, 18 และ 14ตามลำดับ ฮันท์ลีย์และเอิรนสท์
ได้ทำการประเมินประโยชน์
ของการใช้ถั่วเหลืองและ ไอโฟลาโวน
โดยวิเคราะห์
ผลจากการวิจัยทางคลินิก(Randomized Clinical
Trials) 10 เรื่อง พบว่า ผลการศึกษายังมีความขัดแย้งคือมี 4 การ
ศึกษาที่แสดงถึงประโยชน์ของการบริ
โภคไอโซฟลาโวนตั้งแต่
34
ถึง 134 มิลลิกรัมต่อวันทั้งในรูปแป้งถั่วเหลือง โปรตีนถั่ว
เหลืองหรือสกัด
ใส่แคบซูลในการช่วยลดกลุ่มอาการที่เกิดจาก
ภาวะหมดประจำเดือน
ขณะเดียวกันอีก 6 งานวิจัยไม่แสดงความ
แตกต่
างระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม

ถั่วเหลืองกับโรคกระดูกพรุน
โรคกระดูกพรุนเป็นภาวะที่มีความผิดปกติของกระดูกทั้งในด้าน
ปริมาณ
และคุณภาพทำให้ความแข็งแรงของกระดูกลดลงเกิด
กระโกหักได้ง่าย
แม้ได้รับการกระทบกระทั่งเพียงเล็กน้อยทำการ
วินิจฉัยได้โดยการวั
ความหาแน่นของมวลกระดูก สาเหตุที่พบ
ได้บ่อยและสำคั
ญมากที่สุดคือการขาดเอสโตรเจนจาการหมด
ประจำเด
ือนแคลเซียมมีผลต่อมวลกระดูกตั้งแต่วัยเด็กจนถึงวัย
สูงอายุ การเสริมแคลเซียมสามารถทำให้
มวลกระดูกสูงขึ้นแม้จะ
ได้รั
บแคลเซียมจากอาหารเพียงพอตามข้อกำหนดสารอาหาร
ที่ควรได้รั
บประจำวัน (RDA) แล้วผู้หญิงหลังหมดประจำเดือนจะ
มี
การสูญเสียเนื้อกระดูกประมาณร้อยละ 3-5 ต่อปีในเวลา 3-5 ปี
ทำให้มวลกระดูก
ลดลงประมาณ 15 % หลังจากนั้นอัตราการสูญ
เสียเนื้
อกระดูกจะลดลงระดับเดิมคือร้อยละ 0.5 – 1 ต่อปีจนเข้า
สู่วัยสูงอายุการเสริมแคลเซียม
ในช่วงนี้ไม่สามารถขจัดผลของ
การขาดเอสโตรเจนได้แต่
ช่
วยลดผลที่เกิดจากการขาดแคลเซียม
ผู้หญิงควรได้รับแคลเซี
ยมจากอาหารวันละ800 –1200 มิลลิกรัม
อาหารที่มีแคลเซียมสูงได้แก่ นม ปลาทอดกรอบกินได้ทั้ง
กระดูก
กุ้งแห้ง เต้าหู้ เป็นต้น การศึกษาการบริโภคแคลเซียมในผู้
ใหญ่ชาว
ไทยพบว่า มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ361มิลลิกรัมต่อวันเป็นปริมาณที่ต่

กว่า
ที่ควรได้รับประจำวันมาก การศึกษาทางระบาดวิทยาได้แสดง
ให้เห็นว่า การบริโภคแคลเซียมที่น้อยกว่า 500 มิลลิกรัมต่อวัน มี
ความสัมพันธ์กับ
อัตราเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นต่อการเกิดสะโพกหักในชาว
ยุโรป และการเสริมแคล
เซียมมีผลป้องกันการเกิดกระดูกหักจาก
ภาวะกระโกพรุนได้
โดยเฉพาะอย่างยิ่งประชากรที่ได้รับแคลเซียม
จากอาหารไม่เพียงพอ ในกรณีที่
อาหารอย่างเดียวไม่สามารถให้
แคลเซียมเพียงพอต่
ความต้องการของร่างกายอาจพิจารณา
ให้ยาเม็ดแคลเซียมเสริม เช่น Calcium Carbonate,
Calcium
Citrate เป็นต้น
การทดลองในหนูพบว่า จีนิสทีน (ไอโซฟลาโวน
ชนิดหนึ่ง) ให้ผลคล้
ายยาประเภทเอสโตรเจนชื่อพรีมาลิน
(Premalin) สามารถลดการสูญเสียมวล
กระดูกได้โปรตีนถั่วเหลือง
สามารถป้องกั
นการสูญเสียเนื้อกระดูกที่เกิดจากขาดฮอร์โมนจาก
รังไข่ของหนู
ที่ถูกตัดรังไข่ทิ้ง (เกิดการสร้างมวลกระดูกมากกว่าการ
สลายกระดูก) สำหรับการศึกษาในคนนั้นขณะนี้ยังเร็วเกินไป
ที่จะ
สรุ
ปผลว่าไอโซฟลาโวนจากถั่วเหลืองป้องกันภาวะกระดูกพรุนได้
แต่ก็มีการศึกษาที่ไม่เห็
นความแตกต่างระหว่างกลุ่มที่ได้รับและไม่
ได้รับ
ไอโซฟลาโวนจากถั่วเหลือง ผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่แนะนำให้
รั
บประทานผลิตภัณฑ์อาหารที่ทำจากถั่วเหลืองเพื่อให้ได้รับไอโซ
ฟลาโวนมากกว่าจะ
รับประทานเป็นเม็ดยา

ถั่วเหลืองกับโรคหัวใจขาดเลือด
โดยทั่วไปหญิงวัยหมดระดูจะมี เอชดีแอล-คลอโคเลสเตอรอล
(HDL-Cholesterol) ลดลงและแอลดีแอล-คลอเลสเตอรอล

(LDL-Cholesterol) เพิ่มขึ้นเป็นผลจากการลดลงของระดับเอส
โตรเจน
ปัจจัยต่อไปนี้ ได้แก่ ภาวะไขมันในเลือดสูง ความดัน
โลหิตสูง การสูบบุหรี่
เบาหวาน อ้วน การขาดการออกกำลังกาย
และดื่มเหล้า เป็นปัจจัยเสี่ยงที
สำคัญที่เพิ่มอัตราเสี่ยงต่อการเป็น
โรคหั
วใจและหลอดเลือด การศึกษาทางระบาดวิทยา พบว่าประ
ชากรที่กินอาหารที่มีโปรตี
นจากพืชสูงจะมีอุบัติการของการเป็น
โรคหัวใจขาดเลื
อดและภาวะคลอเลสเตอรอลสูงในเลือดต่ำกว่า
ประชากรที่กินอาหารที่มีโปรตีนจากสัตว์สูงแอนเดอสันและคณะ
ได้วิเคราะห์
รายงานวิจัยทางคลินิก 38 เรื่องโดยข้อมูลบ่งชี้ว่า
การกินโปรตีนถั่วเหลือง
เฉลี่ย 47 กรัมต่อวันทำให้ระดับคลอเลส
เตอรอลในเลือดลดลงร้อยละ 9 แอลดีแอล-คลอเลสเตอรอลลด
ลงร้
อยละ 13 ไตรกลีเซอไรด์ลดลงร้อยละ10เชื่อว่าเป็นผลจาก
ไฟโตเอสโตรเจนโปรตีนถั่
วเหลือง 60-70 % องค์การอาหารและ
ยาของอเมริกา (Food and Drug Administration, FDA ) และ
สมาคมแพทย์โรคหัวใจในอเมริกา(American Heart Association,
AHA) ได้แนะนำให้กินโปรตีนจากถั่
วเหลือง 25 กรัม ต่อวันและให้
โปรตีนจาก
ถั่วเหลืองเป็นส่วนหนึ่งของอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวและ
คลอเลสเตอรอลต่ำ ซึ่งอาจจะลดความเสี่ยงของโรคหั
วใจ และ
หลอดเลือด


ถั่วเหลืองกับโรคมะเร็ง
มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่ มะเร็งต่อมลูกหมาก มะเร็งมดลูก
มะเร็งรังไข่ ซึ่งเป็นมะเร็งชนิดที่สัมพันธ์
กับฮอร์โมนในร่างกาย
และโรคหั
วใจขาดเลือดมีอุบัติการต่ำกว่าในเอเชียและยุโรปตะวัน
ออกเมื่อเทียบกั
บประเทศตะวันตกมีรายงานว่าประเทศญี่ปุ่นมี
อั
ตราเสี่ยงต่อโรคมะเร็งที่พึ่งฮอร์โมนต่ำสุดผู้อพยพชาวเอเชียที่
อยู่
ในประเทศตะวันตกที่ยังรับประทานอาหารตามประเพณีดั้งเดิ
ของตนมีอัตราเสี่ยงต่อโรคไม่สู
งขึ้นแต่กลุ่มที่หันไปบริโภคแบบ
ตะวั
ตตกมีอัตราเสี่ยงต่อโรคสูงขึ้น ซึ่งเชื่อว่าเกี่ยวข้องกับไฟโต
เอสโตร
เจน โดยขึ้นกับปริมาณถั่วเหลืองที่แต่ละท้องถิ่นบริโภค
เช่น คนญี่ปุ่นรับประ
ทานผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลืองวันละ 200 มิล
ลิกรัม คนเอเชียจะได้รั
บไอโซฟลาโวนจากอาหารวันละ 25-45
มก. จากอาหารจำพวกถั่วเมล็ดแห้งสู
งกว่าคนในประเทศตะวันตก
(อย่างน้อยกว่า5มิลลิกรัมตอวัน) ฮิรายามาและคณะพบว่าผู้หญิง
ญี่
ปุ่นที่รับประทานซุปเต้าเจี้ยวมากจะมีอัตราเสี่ยงต่อโรคมะเร็ง
ต่ำกว่า
(ความสัมพันธ์ผกผัน) ผู้ชายญี่ปุ่นที่กินเต้าหู้มากกว่า 5
ครั้งต่อสัปดาห์มีอัตรา
เสี่ยงต่อมะเร็งต่อมลูกหมากเป็นครึ่งหนึ่ง
ของคนที่กินเต้าหู้น้อยกว่
า 1 ครั้งต่อสัปดาห์ คนญี่ปุ่นที่กินเต้าหู้
มากมีอั
ตราเสี่ยงต่อมะเร็งกระเพาะอาหารต่ำ คนจีนที่กินถั่วเหลือง
มากกว่า 5 กิโลกรัมต่อปีมีอัตราเสี่ยงต่
อมะเร็งกระเพาะอาหารลด
ลงร้อยละ 40 หญิงจีนที่กินอาหารที่ประกอบด้
วยถั่วเหลืองน้อย
กว่า 1 ครั้งต่อสัปดาห์มีอัตราเสี่ยงต่
อมะเร็งมะเร็งปอดเป็น 3.5
เท่า และมะเร็งเต้านมเป็น 2 เท่าของหญิงจีนที่กินอาหารที่
ประ
กอบด้วยถั่วเหลืองทุกวัน