Welcome to my blog, hope you enjoy reading
RSS

แมกนีเซียม

แมกนีเซียมคืออะไร
แมกนีเซียม เป็นสารอาหารประเภทเกลือแร่(Mineral) ชนิดหนึ่ง
จัดอยู่ในกลุ่ม
เกลือแร่ที่มีมากในร่างกาย (Macronutrients หรือ
Principal elements) ซึ่งมีความสำคัญอย่างมากต่อร่
างกาย
มนุษย์โดยเฉพาะในโครงสร้างกระดูกมี
ธาตุแมกนีเซียม เป็นองค์
ประกอบประมาณ 25 กรัม หรืออาจมากกว่านี้และเป็นส่วนประ
กอบสำคัญของเซลล์
ต่างๆของกล้ามเนื้อ สมองและเนื้อเยื่อเกี่ยว
พัน
ต่างๆแมกนีเซียม ส่วนใหญ่ในร่างกาย(60-70%)พบในกระดูก
ส่วนที่เหลืออีก 30% พบในเนื้อเยื่ออ่
อนและของเหลวในร่างกาย
แมกนีเซียมมักอยู่ในของเหลวที่อยู่
ภายในเซลล์ (Intracellular-
fluid) เช่นเดียวกับโพแทสเซียม ประมาณร้อยละ 35 ของแมกนี
เซียมในเลือดจะรวมอยู่
กับโปรตีนเด็กแรกเกิดมี แมกนีเซียมต่ำ
และเมื่อ
โตขึ้นจะมีแมกนีเซียมมากขึ้น แมกนีเซียมเป็นโคแฟก
เตอร์ (Co-factor)ที่สำคัญของเอ็นไซม์ในร่
างกายไม่น้อยกว่า
300 ชนิด เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์
โปรตีนต่างๆในร่างกาย
และเป็น
เกลือแร่ที่มีโอกาสขาดได้ง่ายรองจาก แคลเซียมหากร่าง
กายได้รับไม่เพียงพอ
จะมีโอกาสเป็น โรคหัวใจมากขึ้นแมกนีเซียม
ยังทำหน้าที่ในการส่งผ่
านกระแสประสาท จึงช่วยบรรเทาอาการที่
เกี่ยวกั
บสมองได้ เช่น ซึมเศร้า ไมเกรน เครียด เป็นต้น และมีหน้า
ที่สำคัญอีกอย่างคื
อเป็นตัวช่วยในการสะสม แคลเซียมเข้ากระดูก
และลดความรุนแรงของโรคหัวใจวายเรื้อรัง
แต่เป็นที่น่าเสียดายที่
มีน้
อยคนมากๆ ที่จะได้รับ แมกนีเซียมอย่างเพียงพอต่อวันจากอา
หารที่
รับประทานเข้าไป เนื่องจากอาหารที่ปรุงส่วนใหญ่จะมีแร่
ธาตุนี้อยู่น้อย การรับยาบางชนิดก็ส่งผลให้เกิ
ดขาดแร่ธาตุ
แมกนีเซียมอีกทั้ง
โรคบางชนิด เช่นเบาหวานโรคติดเหล้าก็ส่งผล
ให้เกิดการขาดแร่ธาตุแมกนีเซียม
ได้เช่นกัน

ดังนั้นการรับประทานในรูปแบบอาหารเสริมก็จะช่วยให้มั่นใจได้ว่า
ร่างกายได้รับ
แมกนีเซียม อย่างเพียงพอ ซึ่งเราจะพบแมกนีเซียม
ในรูปแบบต่างๆ มากมาย เช่น แมกนีเซียมซิเตรด แมกนีเซียมแอส
พาเตรด แมกนีเซียมคาร์บอเนต
แมกนีเซียมกลูคอเนต แมกนีเซียม
ออกไซต์และแมกนีเซียมซัลเฟต


หน้าที่และประโยชน์
แมกนีเซียม เปรียบเสมือนคนงานที่ทำงานแบบไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย
เพียงเพื่อจะ
สังเคราะห์โปรตีนให้ร่างกาย และเป็นโคเอนไซม์ที่สำ
คัญที่สุ
ดชนิดหนึ่งในร่างกายที่จะทำงานร่วมกับ แคลเซียม อันเป็น
ประโยชน์ต่
อการทำงานในระบบต่างๆ ของร่างกายแมกนีเซียม ยัง
ช่วยให้การผลิตฮอร์โมนต่างๆ เป็นปกติ มีหน้าที่เกี่ยวข้อง
กับการ
ทำงานของระบบกล้ามเนื้
อและเซลล์ต่างๆมีผลต่อการทำงานของ
ระบบ
ประสาท ระบบย่อยอาหาร ระบบสืบพันธุ์ ระบบเลือดและระบบ
ภูมิคุ้มกันของร่างกายโดยหน้าที่และประโยชน์ของ แมกนีเซียม
มีดังนี้

1. มีส่วนควบคุมการทำงานของระบบประสาทและกล้ามเนื้อเช่น
เดียวกับ แคลเซียมโดยจำเป็นสำหรับการส่งสั
ญญาณทางประ
สาท และการหดตัวของกล้
ามเนื้อ
2. ช่วยกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์ที่จำเป็นสำหรับการเผา
ผลาญสารอาหาร และการสังเคราะห์โปรตีน

3. ช่วยในการควบคุมอุณหภูมิของร่างกายมีส่วนเกี่ยวข้องกับการ
ต้
านทานความหนาวในที่อากาศเย็น ความต้องการแมกนีเซียม
จะสูงขึ้น

4. จำเป็นสำหรับการเติบโตของกระดูกและฟัน
5. สำคัญในการนำมาใช้ให้เป็นประโยชน์
ของวิตามิน บี ซี และ อี

6. จำเป็นสำหรับการเผาผลาญแคลเซียม ฟอสฟอรัส โซเดียม
และโพแทสเซียม

7. อาจป้องกันโรคทางหลอดเลือดหัวใจ โดยจะไปลดความดัน
เลือดลง และป้อง
กันการเกาะของโคเลสเตอรอลในหลอดเลือด
แดงช่วยการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ

8. ช่วยในการควบคุมสมดุลของกรด-ด่างในร่างกาย
9. อาจทำหน้าที่เป็นตัวยาสงบประสาทตามธรรมชาติ ช่วยบรรเทา
อาการปวดไมเกรนและลดความถี่ในการเกิดได้ ลดอาการซึมเศร้า
และช่วยให้นอนหลับโดยเป็นตัวที่
ช่วยในการสร้างสารเมลาโตนิน
10.ป้องกันไม่ให้ แคลเซียม จับตัวอยู่ตามอวัยวะต่างๆ เช่น ไต
11.จำเป็นต่อการรวมตัวของ parathyroid hormone ซึ่งมีบทบาท
ในการดึงเอาแคล
เซียมออกจากกระดูก
12.ป้องกันการแข็งตัวของเลือด
13.ลดอาการปวดเค้นหน้าอกในผู้ป่วย โรคหัวใจ
14.ป้องกันและรักษาโรคหอบหืด
15.บรรเทาและป้องกัน อาการปวดประจำเดือนโดยการคลาย
กล้ามเนื้อมดลูก

16.การรับประทานแมกนีเซียม จะช่วยลดการเกิดตะคริวในหญิงมี
ครรภ์ที่มี
ระดับของ แมกนีเซียม ต่ำได้
17.ช่วยป้องกันการเกิดอาการไมเกรนคนที่มีปัญหาโรคไมเกรนมัก
จะมีปริมาณ
แมกนีเซียมในเลือดต่ำ
18.ช่วยบรรเทาอาการที่เกี่ยวกับสมองได้เช่น ซึมเศร้าไมเกรน เครียด

การควบคุมความดันโลหิต
อย่างที่เราทราบหากเราลดความดันลงมาความเสี่ยงต่ออาการ
หัวใจกำ
เริบหรืออาการหัวใจวายก็จะลดลงไปด้วย แมกนีเซียม
จะไปช่วยให้กล้าม
เนื้อหัวใจคลายตัวลงร่วมกับมันยังไปช่วยปรับ
สมดุลของโปตัวเซี
ยมกับโซเดียมในเลือดให้สมดุล ส่งผลให้
ความดันโลหิ
ตลดลงตามไปด้วย มีการศึกษาเมื่อไม่นานนี้เอง
ในชายหญิงจำนวน 60 คนที่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสู
งพบว่า
แมกนีเซียมทำให้ทั้งความดั
น Systolic และ Diastolic ลดลง ทั้งนี้
โดย
ปกติ แมกนีเซียมจะรับประทานควบคู่กับ แคลเซียม เพื่อประ
โยชน์ในการควบ
คุมความดันโลหิต แมกนีเซียม ป้องกันแคลเซียม
จับตัวอยู่ตามผนังหลอดเลือด
จึงป้องกันอาการหลอดเลือดแข็งตัว
รักษาความดันโลหิตให้เป็นปกติ


การป้องกันโรคหัวใจ
การที่กล้ามเนื้อหดตัวเป็นผลมาจากแคลเซียม เข้าไปอยู่ภายใน
เซลล์กล้ามเนื้อ เนื่องจากมีความเครียดเข้
ามากระตุ้น และตัวที่
จะควบคุมการเคลื่
อนไหวของ แคลเซียมนี้ก็คือ แมกนีเซียม เมื่อ
แมกนีเซียมไม่พอ แคลเซียมจะไหลเข้าไปในเซลล์กล้าม
เนื้อมาก
เกินไป จนเป็นเหตุให้การหดตัวของกล้
ามเนื้อไม่ปกติเกิดอาการ
สั่น
เป็นตะคริวหากผนังหลอดเลือดเกิดเป็นตะคริว จะทำให้เกิดโรค
หัวใจตีบ หลอดเลือดหัวใจแข็งตัว เป็นต้น


ป้องกันโรคกระดูกพรุน
แมกนีเซียม จะช่วยในการสร้าง วิตามินดีในรูปแบบที่ร่างกายนำ
ไปใช้
ประโยชน์ได้ในการสร้างเสริมความแข็งแรงให้กับกระดูก
และฟัน ทำให้กระดูกและฟันมีความ
หนาแน่นเพิ่มขึ้น จึงช่วยทำ
ให้
ขยายระยะเวลาในการเสื่อมของกระดูกให้ยืดนานออกไป

แคลเซียม vs. แมกนีเซียม
หน้าที่ของ แมกนีเซียม ที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันการเป็นตะคริว
คือ แมกนีเซียม
มีส่วนควบคุมการทำงานของระบบประสาท และ
กล้
ามเนื้อเช่นเดียวกับ แคลเซียมโดยจำเป็นสำหรับการส่งสั
ญาณทางประสาทและการหดตัวของกล้
ามเนื้อช่วยให้กล้ามเนื้อ
คลายตัวหลั
งจากการหดตัว การที่กล้ามเนื้อหดตัวเป็นผลมาจาก
แคลเซียม เข้าไปอยู่ภายในเซลล์กล้ามเนื้อ เนื่องจากมีความ
เครียดเข้
ามากระตุ้น และตัวที่จะควบคุมการเคลื่อนไหวของ แคล
เซียม นี้ก็คือ แมกนีเซียม เมื่อแมกนีเซียม
ไม่พอ แคลเซียม จะ
ไหลเข้าไปในเซลล์กล้ามเนื้
อมากเกินไป จนเป็นเหตุให้การหด
ตัว
ของกล้ามเนื้อ ไม่ปกติ เกิดอาการสั่น ถ้าขาดมากๆ กล้ามเนื้อ
จะหดเกร็งอย่างรุนแรงและเป็นตะคริวได้ ด้านอารมณ์จะรู้สึก
หงุดหงิด สับสน ตื่นเต้นง่าย หากผนังหลอดเลือดเกิดเป็นตะคริว
จะทำให้เกิดโรคหัวใจตีบ หลอดเลือดหัวใจ
แข็งตัว เป็นต้น แมก
นีเซียมป้องกันแคลเซียมจับตั
วอยู่ตามผนังหลอดเลือดจึงป้องกั
อาการหลอดเลือดแข็งตัว รักษาความดันโลหิตให้เป็นปกติ