Welcome to my blog, hope you enjoy reading
RSS

แมกนีเซียม( Magnesium )

แมกนีเซียม เป็นสารอาหารประเภทเกลือแร่ (Mineral) ชนิดหนึ่ง
จัดอยู่ในกลุ่ม
เกลือแร่ที่มีมากในร่างกาย (Macronutrients หรือ
Principal elements) ซึ่งมีความสำคัญอย่างมากต่อร่างกาย
มนุษย์โดยเฉพาะในโครงสร้างกระดูกมี
ธาตุแมกนีเซียม เป็นองค์
ประกอบประมาณ 25 กรัม หรืออาจมากกว่านี้และเป็นส่วนประ
กอบสำคัญของเซลล์
ต่างๆกล้ามเนื้อ สมองและเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
ต่างๆ แมกนีเซียม ส่วนใหญ่ในร่างกาย(60-70%)พบในกระดูก
ส่วนที่เหลืออีก 30% พบในเนื้อเยื่ออ่
อนและของเหลวในร่างกาย
แมกนีเซียมมักอยู่ในของเหลวที่อยู่
ภายในเซลล์(Intracellular
fluid) เช่นเดียวกับโพแทสเซียม ประมาณร้อยละ 35 ของ
แมกนีเซียมในเลือดจะรวมอยู่
กับโปรตีนเด็กแรกเกิดมีแมกนีเซียม
ต่ำ และเมื่อ
โตขึ้นจะมีแมกนีเซียม มากขึ้น

แมกนีเซียม เป็นโคแฟกเตอร์(Co-factor)ที่สำคัญของเอ็นไซม์
ในร่
างกายไม่น้อยกว่า 300 ชนิด เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์โปร
ตีนต่างๆในร่างกายและเป็น
เกลือแร่ที่มีโอกาสขาดได้ง่ายรองจาก
แคลเซียมหากร่างกายได้รับไม่เพียงพอ
จะมีโอกาสเป็นโรคหัวใจ
มากขึ้นแมกนีเซียม ยังทำหน้าที่ในการส่งผ่
านกระแสประสาท จึง
ช่วยบรรเทาอาการที่เกี่ยวกั
บสมองได้ เช่น ซึมเศร้า ไมเกรน
เครียด เป็นต้น และมีหน้าที่สำคัญอีกอย่างคื
อเป็นตัวช่วยในการสะ
สม แคลเซียมเข้ากระดูกและลดความรุนแรงของโรคหัวใจวาย
เรื้อรัง
แต่เป็นที่น่าเสียดายที่มีน้อยคนมากๆ ที่จะได้รับ แมกนีเซียม
อย่างเพียงพอ
ต่อวันจากอาหารที่รับประทานเข้าไป เนื่องจากอา
หารที่ปรุงส่วนใหญ่
จะมีแร่ธาตุนี้อยู่น้อย การรับยาบางชนิดก็ส่ง
ผลให้เกิ
ดขาดแร่ธาตุแมกนีเซียมอีกทั้งโรคบางชนิดเช่นเบาหวาน
โรคติดเหล้าก็ส่งผลให้เกิดการขาดแร่ธาตุแมกนีเซียม
ได้เช่นกัน

ดังนั้นการรับประทานในรูปแบบอาหารเสริมก็จะช่วยให้มั่นใจได้ว่า
ร่างกายได้รับ
แมกนีเซียม อย่างเพียงพอ ซึ่งเราจะพบ แมกนีเซียม
ในรูปแบบต่างๆ มากมาย เช่น แมกนีเซียมซิเตรด แมกนีเซียมแอส
พาเตรด แมกนีเซียมคาร์บอเนต
แมกนีเซียมกลูคอเนต แมกนีเซียม
ออกไซต์และแมกนีเซียมซัลเฟต

หน้าที่และประโยชน์
แมกนีเซียม เปรียบเสมือนคนงานที่ทำงานแบบไม่รู้จักเหน็ด
เหนื่
อยเพียงเพื่อจะสังเคราะห์โปรตีนให้ร่างกาย และเป็นโคเอน
ไซม์ที่สำคัญที่สุ
ดชนิดหนึ่งในร่างกายที่จะทำงานร่วมกับ แคล
เซียม อันเป็นประโยชน์ต่
อการทำงานในระบบต่างๆ ของร่างกาย
แมกนีเซียม ยังช่วยให้การผลิตฮอร์โมนต่างๆ เป็นปกติ มีหน้าที่
เกี่ยวข้อง
กับการทำงานของระบบกล้ามเนื้อและเซลล์ต่างๆมีผล
ต่อการทำงานของระบบ
ประสาท ระบบย่อยอาหาร ระบบสืบพันธุ์
ระบบเลือด และระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายโดยหน้าที่และประ
โยชน์ของ แมกนีเซียม มีดังนี้

1. มีส่วนควบคุ มการทำงานของระบบประสาทและกล้ามเนื้อเช่น
เดียวกับ แคลเซียมโดยจำเป็นสำหรับการส่งสั
ญญาณทางประ
สาทและการหดตัวของกล้
ามเนื้อ

2. ช่วยกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์
ที่จำเป็นสำหรับการเผา
ผลาญสารอาหารและการสังเคราะห์โปรตีน

3. ช่วยในการควบคุมอุณหภูมิของร่
างกายมีส่วนเกี่ยวข้องกับการ
ต้
านทานความหนาวในที่อากาศเย็น ความต้องการแมกนีเซียม
จะสูงขึ้น

4. จำเป็นสำหรับการเติบโตของกระดู
กและฟัน

5. สำคัญในการนำมาใช้ให้เป็
นประโยชน์ของวิตามิน บี ซี และ อี

6. จำเป็นสำหรับการเผาผลาญแคลเซียมฟอสฟอรัส โซเดียมและ
โพแทสเซียม

7. อาจป้องกันโรคทางหลอดเลือดหัวใจโดยจะไปลดความดัน
เลือดลง และป้อง
กันการเกาะของโคเลสเตอรอลในหลอดเลือด
แดงช่วยการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ

8. ช่วยในการควบคุมสมดุลของกรด-ด่
างในร่างกาย

9. อาจทำหน้าที่เป็นตั
วยาสงบประสาทตามธรรมชาติ ช่วยบรรเทา
อาการปวดไมเกรนและลดความถี่ในการเกิดได้ ลดอาการซึมเศร้า
และช่วยให้นอนหลับโดยเป็นตัวที่
ช่วยในการสร้างสารเมลาโตนิน

10.ป้องกันไม่ให้ แคลเซียม จับตัวอยู่ตามอวัยวะต่างๆ เช่น ไต

11.จำเป็นต่อการรวมตัวของparathyroid hormone ซึ่งมีบทบาท
ในการดึงเอาแคล
เซียมออกจากกระดูก

12.ป้องกันการแข็งตัวของเลือด

13.ลดอาการปวดเค้นหน้าอกในผู้ป่
วย โรคหัวใจ

14.ป้องกันและรักษาโรคหอบหืด

15.บรรเทาและป้องกัน อาการปวดประจำเดื
อนโดยการคลาย
กล้ามเนื้อมดลูก

16.การรับประทานแมกนีเซียม จะช่วยลดการเกิดตะคริวในหญิงมี

ครรภ์ที่มี
ระดับของแมกนีเซียมต่ำได้

17.ช่วยป้องกันการเกิดอาการไมเกรนคนที่มีปัญหาโรคไมเกรนมัก
จะมีปริมาณ
แมกนีเซียมในเลือดต่ำ

18.ช่วยบรรเทาอาการที่เกี่ยวกั
บสมองได้เช่น ซึมเศร้าไมเกรน
เครียด

การควบคุมความดันโลหิต
อย่างที่เราทราบหากเราลดความดันลงมาความเสี่ยงต่ออาการหัว
ใจกำ
เริบหรืออาการหัวใจวายก็จะลดลงไปด้วย แมกนีเซียมจะไป
ช่วยให้กล้าม
เนื้อหัวใจคลายตัวลงร่วมกับมันยังไปช่วยปรับสมดุล
ของโปตัวเซี
ยมกับโซเดียมในเลือดให้สมดุล ส่งผลให้ความดันโล
หิ
ตลดลงตามไปด้วย มีการศึกษาเมื่อไม่นานนี้เองในชายหญิงจำ
นวน 60 คนที่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสู
งพบว่าแมกนีเซียมทำ
ให้ทั้งความดั
น Systolic และ Diastolic ลดลง ทั้งนี้โดยปกติ แมก
นีเซียมจะรับประทานควบคู่กับ แคลเซียมเพื่อประโยชน์ในการควบ

คุมความดั
นโลหิต แมกนีเซียมป้องกันแคลเซียมจับตัวอยู่ตามผนัง
หลอดเลือด
จึงป้องกันอาการหลอดเลือดแข็งตัวรักษาความดัน
โลหิตให้เป็นปกติ

การป้องกันโรคหัวใจ
การที่กล้ามเนื้อหดตัวเป็นผลมาจากแคลเซียม เข้าไปอยู่ภายใน
เซลล์กล้ามเนื้อ เนื่องจากมีความเครียดเข้
ามากระตุ้น และตัวที่
จะควบคุมการเคลื่
อนไหวของ แคลเซียมนี้ก็คือ แมกนีเซียมเมื่อ
แมกนีเซียมไม่พอ แคลเซียมจะไหลเข้าไปในเซลล์กล้าม
เนื้
มากเกินไป จนเป็นเหตุให้การหดตัวของกล้
ามเนื้อไม่ปกติเกิด
อาการสั่น
เป็นตะคริวหากผนังหลอดเลือดเกิดเป็นตะคริว จะทำให้
เกิดโรคหัวใจตีบ หลอดเลือดหัวใจแข็งตัว เป็นต้น

ป้องกันโรคกระดูกพรุน
แมกนีเซียม จะช่วยในการสร้าง วิตามินดีในรูปแบบที่ร่างกายนำไป
ใช้
ประโยชน์ได้ในการสร้างเสริมความแข็งแรงให้กับกระดูกและ
ฟัน ทำให้กระดูกและฟันมีความ
หนาแน่นเพิ่มขึ้น จึงช่วยทำให้
ขยายระยะเวลาในการเสื่
อมของกระดูกให้ยืดนานออกไป

แคลเซียม vs. แมกนีเซียม
หน้าที่ของ แมกนีเซียม ที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันการเป็นตะคริว
คือ แมกนีเซียม
มีส่วนควบคุมการทำงานของระบบประสาทและ
กล้
ามเนื้อเช่นเดียวกับ แคลเซียมโดยจำเป็นสำหรับการส่งสั
ญาณทางประสาทและการหดตัวของกล้
ามเนื้อช่วยให้กล้ามเนื้อ
คลายตัวหลั
งจากการหดตัว การที่กล้ามเนื้อหดตัวเป็นผลมาจาก
แคลเซียม เข้าไปอยู่ภายในเซลล์กล้ามเนื้อ เนื่องจากมีความ
เครียดเข้
ามากระตุ้น และตัวที่จะควบคุมการเคลื่อนไหวของ แคล
เซียม นี้ก็คือ แมกนีเซียม เมื่อแมกนีเซียม
ไม่พอ แคลเซียม จะ
ไหลเข้าไปในเซลล์กล้ามเนื้
อมากเกินไป จนเป็นเหตุให้การหดตัว
ของกล้
ามเนื้อ ไม่ปกติ เกิดอาการสั่น ถ้าขาดมากๆ กล้ามเนื้อจะ
หดเกร็งอย่างรุนแรงและเป็นตะคริวได้ ด้านอารมณ์จะรู้สึกหงุดหงิด
สับสน ตื่นเต้นง่าย หากผนังหลอดเลือดเกิดเป็นตะคริวจะทำให้เกิด
โรคหัวใจตีบ หลอดเลือดหัวใจ
แข็งตัว เป็นต้น แมกนีเซียมป้องกัน
แคลเซียมจับตั
วอยู่ตามผนังหลอดเลือดจึงป้องกันอาการหลอด
เลือดแข็งตัว รักษาความดันโลหิตให้เป็นปกติ

ในโลกของแร่ธาตุตามธรรมชาติ แคลเซียม และ แมกนีเซียมต้อง
ทำหน้าที่ร่วม
กันโดยจะแยกออกจากกันมิได้ แมกนีเซียมช่วยร่าง
กายในการดูดซึมแคลเซียม
และ แคลเซียม ก็มีความสำคัญอย่าง
ใหญ่หลวงต่
อร่างกายในการย่อยสลายแมกนีเซียม แคลเซียมนั้น
ไม่เพียงแต่ทำหน้าที่สร้
างเสริมกระดูกให้แข็งแรงเท่านั้น แต่ยัง
ช่วยป้องกันภาวะกระดู
กเปราะ กระดูกพรุน และยังช่วยในเรื่อง
การเจริญเติ
บโตบำรุงระบบประสาทระบบสืบพันธุ์ป้องกันการหด
ตัวของกล้ามเนื้
อและกระบวนการการทำงานของอวัยวะที่สำคัญ
อื่นๆของร่างกายในขณะที่แมกนีเซียมจะช่วย
แคลเซียมสร้างเสริม
ความแข็งแรงให้กั
บกระดูก ควบคุมการหดตัวและคลายตัวของ
กล้
ามเนื้อให้อยู่ในระดับปกติ ป้องกันการเป็นตะคริวกระตุ้นระบบ
ประสาทควบคุมการใช้
น้ำตาลของร่างกาย รวมถึงช่วยให้ร่าง
กายผลิตโปรตี
นอันเป็นปัจจัยสำคัญในการบำรุกล้ามเนื้อ และ
เซลล์ต่างๆ
ในหลอดเลือดไหลได้สะดวก และหากสาเหตุของ
การเป็น
ตะคริวเกิดจากภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ หรือสตรีมี
ครรภ์ที่มีระดั
บของแคลเซียมในเลือดต่ำและควรจะบริโภค
แคลเซียม เสริม ก็ควรจะบริโภค แมกนีเซียมเสริมด้วย
เนื่องจาก
แคลเซียม และแมกนีเซียมจำเป็นต้องทำงานร่วมกัน

ในการรับประทานแมกนีเซียมควรควบคุมปริมาณของแคลเซียม
ควบคู่ไปด้วยโดยอัตราส่วนของแคลเซียม ต่อแมกนีเซียมในอุ
ดมคติได้แก่ 2 ต่อ 1 ถึง 3 ต่อ
1 ปริมาณ แคลเซียม ที่ได้รับต่อวัน
ควรจะอยู่ประมาณ 600 มก. แมกนีเซียม 300
มก. แต่ในความ
เป็นจริงคนส่วนใหญ่ได้รับ แมกนีเซียม เพียง 150-300 มก.
ใน
ขณะที่แคลเซียม มีผู้หันมาบริโภคมากขึ้นเพื่อป้
องกันโรคกระ
ดูกในผู้สูงอายุนั้นควรใส่ใจกับปริ
มาณของแมกนีเซียมด้วยเช่น
กัน ผู้ดื่มนมในปริมาณ
มาก ควรหันมาบริโภคแมกนีเซียมให้
มากขึ้นหากได้รับแคลเซียมมากเกินไป จะไปขัดขวางการดูด
ซึมแมกนีเซียมในร่างกาย

สาเหตุหนึ่งของการเกิดตะคริว ได้แก่การที่ร่างกายเสียสมดุล
ระหว่
างแร่ธาตุแคลเซียม และ แมกนีเซียม และ/หรือขาด
วิตามินอี ดังนั้นจึงควรจะรับประทาน
แมกนีเซียม และ แคล
เซียม ให้สมดุลกัน โดยอัตราส่วนของ แคลเซียม ต่อ
แมกนี
เซียม ในอุดมคติ ได้แก่ 2 ต่อ 1 ดังที่ได้กล่าวไปแล้ว โดย
อาหารที่มีแคลเซียม
มากได้แก่ นมผักใบเขียว งากุ้งแห้ง ปลา
เล็กปลาน้อยที่กินทั้งกระดูก เป็นต้น
ส่วนอาหารที่มีแมกนี
เซียม สูง ได้แก่ ผลไม้เปลือกแข็ง ถั่วเมล็ดแห้ง ธัญพืช
(เมล็ดข้าวที่ยังไม่ได้สี) และผักใบเขียว เป็นต้น

ขนาดรับประทาน
มาตรฐาน กำหนด (อย.)
เด็กทารกต้องการประมาณวันละ 50-70 มก.
เด็กโต ต้องการประมาณวันละ 150-250 มก.
ผู้ใหญ่ต้องการประมาณวันละ 350-450 มก.
หญิงมีครรภ์และระยะให้นมบุ
ตรประมาณวันละ450-600มก.

อาหารทั่วไปที่มี
แมกนีเซียม ประมาณ 300-800 มก.ก็จะ
เพียงพอกับความต้องการของร่
างกายได้

ผลของการรับประทานแมกนีเซียมไม่เพียงพอ
จากการทดลองกับสัตว์พบว่า ถ้าให้อาหารที่มีแมกนีเซียมต่ำ
เป็นเวลานานจะทำ
ให้เกิดความผิดปกติของระบบประสาท
กล้ามเนื้อไต หัวใจ และหลอดเลือด คนสูงอายุที่กินอาหารไม่มี
แมกนี
เซียมนาน100 วันขึ้นไปมักแสดงอาการผิดปกติเกี่ยวกับการ
ย่อยอาหาร และการทำงานของระบบประสาท
อย่างไรก็ตาม ยังไม่พบปัญหาการขาดแมกนีเซี
ยมในคนปกติ ผู้ที่
เป็นโรคพิษสุราเรื้อรังเด็กที่เป็นโรคขาดโปรตีนและคนไข้ที่อด
อาหารเป็
นเวลานานหลังการผ่าตัดอาจมีอาการขาดแมกนีเซียม
ได้ คนพวกนี้มักมีแมกนีเซียม ในเลือดต่ำ และมีอาการชัก
คล้ายการขาด แคลเซียม (แคลเซียม ในเลือดมักต่ำด้วย)

การขาดแมกนีเซียมจะมีผลทำให้ภูมิคุ้มกันโรคของร่างกายต่ำลง
ระบบกล้ามเนื้อและระบบการย่
อยอาหารจะทำงานผิดปกติ ระบบ
ประสาทจะ
ถูกทำลายและประสาทรับรู้อาการเจ็บปวดจะไวขึ้นกระ
ดูกอ่อนจนร่างกายรับ
น้ำหนักไม่ไหวและร่ายกายจะสร้างโปรตี
ทดแทนไม่ได้ตามปกติ นอกจากนี้การขาด แมกนีเซียม จะทำให้
ร่างกายเก็บสะสมพลั
งงานไว้ไม่ได้ สังเคราะห์ฮอร์โมนเพศไม่ได้
เลือดแข็งตัวช้า

สาเหตุของการขาดแมกนีเซียม
ความเครียดทำให้ แมกนีเซียมถูกใช้มากขึ้นหลายเท่า เนื้อและอา
หารที่ผ่าน
กรรมวิธี ปรุงแต่ง น้ำอัดลม ล้วนแต่มีส่วนผสมของฟอส
ฟอรั
สมากซึ่งจะไปขัดขวางการดูดซึมแมกนีเซียมการดื่มแอลกอ
ฮอล์ในปริมาณมากการใช้ยา
ขับปัสสาวะก็มีส่วนทำให้ขาดแมกนี
เซียมได้เช่นกัน รวมทั้งผู้ที่เป็นโรค เบาหวาน
มีโอกาสขาดแมกนี
เซียม ได้ง่าย

การดูดซึมจะถูกควบคุมด้วยพาราธัยรอยด์ ฮอร์โมน และจำนวน
ของแคลเซียม และฟอสฟอรัสในอาหาร กรดไฟติกที่พบในข้าว
อาจป้องกั
นการดูดซึมของแมกนีเซียม อัลโดสเตอโรนซึ่งเป็นฮอร์
โมนหลั
่งจากต่อมแอดรีนัลจะคอยควบคุจำนวนของ แมกนีเซียม
ที่ถูกขับออกมาทางปัสสาวะ ยาขับปัสสาวะและการดื่ม
เหล้าจะ
เพิ่มจำนวนของแมกนีเซียม ที่สูญเสียไปทางปัสสาวะ การได้รับ
ฟลูออไรด์
หรือสังกะสีปริมาณมากๆ จะไปเพิ่มการขับถ่าย แมกนี
เซียม ทางปัสสาวะให้มาก
ขึ้นเช่นกัน

ผลการรับประทานแมกนีเซียมมากเกินไป
ขณะนี้ยังไม่มีรายงานเกี่ยวกับโทษของการรับประทาน แมกนี
เซียมมากไป มีผู้รายงานว่าอาหารที่มี แมกนีเซียมสูงอาจช่วยป้อง
กันโรคหัวใจ และหลอด
เลือดตีบได้

ในกรณีปกติหากได้รับแมกนีเซียมมากเกินไป ไตจะทำการขับออก
นอกร่างกายแต่ในคนที่เป็นโรคไต แมกนีเซียม ที่มากเกินไปอาจ
ไม่ถูกขั
บออกมาอย่างพอเพียง จึงทำให้เกิดอาการเป็นพิษ คือ
ท้องร่วง และอัตราส่วนของ แคลเซียม-แมกนีเซียม
ไม่สมดุล เป็น
ผลให้เกิดการซึมเศร้าเนื่
องจากระบบประสาทส่วนกลาง

การรับประทานแมกนีเซียม
แนะนำให้รับประทาน แมกนีเซียมเป็นอาหารเสริมประมาณวันละ
300 มก.และควร
รับประทาน แมกนีเซียมที่ไม่มีผลทำให้เกิดอา
การถ่
ายเหลวเช่นแมกนีเซียมออกไซด์ และแมกนีเซียม ฟอสเฟต
ซึ่งร่างกายจะได้รับธาตุฟอสฟอรั
ส ช่วยในการสร้างความหนา
แน่
นของกระดูก

ข้อควรระวังในการรับประทานแมกนีเซียม
คือ ควรควบคุมปริมาณของแคลเซียมควบคู่ไปด้วย โดยอัตราส่วน
ของแคลเซียม
ต่อ แมกนีเซียม ในอุดมคติ ได้แก่ 2 ต่อ 1 ถึง 3 ต่อ 1
ปริมาณแคลเซียมที่ได้รับต่อวัน ควรจะอยู่ประมาณ 600 มก.
แมกนีเซียม 300 มก.แต่ในความเป็นจริง คนส่วนใหญ่
ได้รับ
แมกนีเซียม เพียง 150-300 มก.ในขณะที่ แคลเซียม มีผู้หันมา
บริโภคมากขึ้น
เพื่อป้ องกันโรคกระดูกในผู้สูงอายุนั้นควรใส่ใจกับ
ปริ
มาณของแมกนีเซียม ด้วยเช่นกัน ผู้ดื่มนมในปริมาณมาก ควร
หันมาบริโภคแมกนีเซียม ให้มากขึ้น หากได้รับแคลเซียมมากเกิน
ไปจะไปขัดขวางการดูดซึม แมกนีเซียม ในร่างกาย

แมกนีเซียมเหมาะสำหรับใคร

► ผู้มีความเครียดสูง

► ผู้ที่มือเท้าชาบ่อยๆ หรือเป็นตะคริวบ่อยๆ

► ผู้ที่เป็นโรคลมบ้าหมู (ควรปรึกษาแพทย์)

► ผู้ที่ทานนม อาหารปรุงแต่ง น้ำอัดลมเหล้า ในปริมาณมาก

► ผู้ป่วยที่ทานยาขับปัสสาวะ

► ผู้ที่ต้องการป้องกันตนเองจากความดันโลหิตสูง หลอดเลือด
แข็งตัว โรคหัวใจ นิ่วในไต โรคกระดูก osteoporosis

► ผู้สูงอายุ เพื่อบำรุงร่างกาย ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ และเสริม
สร้างกระดูก