หนึ่งในนั้นจะต้องมีแคลเซียม เรารู้จักแคลเซียม มานานในแง่ของ
การช่วยให้กระดูกแข็งแรง ไม่เพียงเท่านั้นเมื่อไม่นานนี้มี งานวิจัย
ตัวหนึ่งได้พบว่า แคลเซียม สามารถช่วยต่อต้านได้อย่างดีต่อความ
ดันโลหิตสูงอาการหัวใจกำเริบ อาการปวดก่อนมีประจำเดือน และ
มะเร็งลำไส้ แต่ก็เป็นที่น่าเสียดายที่คนส่วนใหญ่รับประทานแคล
เซียม น้อยกว่าครึ่งของที่ควรจะได้รับต่อวัน
สำหรับคนที่ไม่สามารถรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูงได้ก็สา
มารถทดแทนง่ายๆได้ด้วยอาหารเสริมแคลเซียมที่มีจำหน่ายอยู่
ทั่
เนต แคลเซียมกลูโคเนต แคลเซียมซิเตรด แคลเซียมซิเตรดมาเลต
แคลเซียมแลคเตต และแคลเซียมฟอสเฟตและปริมาณที่ร่างกาย
จะได้รับแคลเซียมจากอาหารเสริมเหล่านี้ก็จะขึ้
แบบจะให้แคลเซียม แก่ร่างกายเท่าไร เช่นแคลเซียมคาร์บอเนต
จะให้ปริ
จะให้ปริมาณแร่
ซึมเข้
แคลเซียมซิเตรดจะถูกดู
"แคลเซียม" เป็นธาตุที่พบมากที่สุดในทุกส่วนของร่างกาย โดยใน
ร่างกายคน 50กิโลกรัม จะมีแคลเซียม อยู่ประมาณ 1 กิโลกรัม ซึ่ง
เกือบทั้งหมดจะอยู่ในกระดู
เซียม จึงมักจะนึกถึงเฉพาะกระดูกเท่
เซียม ส่วนอื่นที่อยู่ในเซลล์ที่ไม่
สำหรับหน้าที่ๆสำคัญของแคลเซียม ก็คือ การสร้างกระดูก ซึ่งกระ
ดูกทำหน้าที่เป็นโครงสร้
ของร่
เกราะป้องกันอวั
กระทบกระเทือน อย่างไรก็ตาม แคลเซียม มิใช่เป็นเพียงตัวเสริม
สร้
งานของเซลล์ต่างๆ ภายในร่างกายอีกด้วยได้แก่การช่วยการแข็ง
ตัวของเลือด ทำให้เลือดที่
ไหลได้นอกจากนี้แคลเซียมยังเกี่ยวข้องกับการทำงานของ
กล้
ปกติและการส่งสัญญานประสาทที
กรดด่างในเลื
แคลเซียมเข้าสู่ร่างกายอย่างไร
สำหรับการทำงานของแคลเซียมจะเริ่มจากเมื่อร่างกายได้รับแคล
เซียมจากอาหาร ก็จะถูกกรดในกระเพาะทำให้ แคลเซียมแตกตัว
ได้ดีขึ้นและถูกดูดซึมได้ง่ายขึ้นจากบริเวณลำไส้ส่วนต้น โดย
อาศัย Calbindin-Dซึ่งปกติแล้วร่างกายจะดูดซึมแคลเซียมได้
ประมาณร้อยละ 20-40หลังจากนั้นแคลเซียม จะเข้าสู่เลือดผ่
ไปตามระบบไหลเวียนโลหิตแล้
เข้าสู่กระดูก นอกนั้นเข้าสู่เซลล์ต่างๆในร่างกาย ที่เหลือจะถูกขับ
ออกทางปัสสาวะ
โดยปกติทั่วไปแม้กระดูกจะไม่ยืดตัวให้เห็นแต่จะมีแคลเซียมผ่าน
เข้าออกจากกระดูกถึงวั
ติดอยู่
เซียมในกระดูกจะถูกดึงออกพร้อมกั
(resorption) และเสริมเข้าไปพร้อมกับการสร้
(formation)อยู่ตลอดเวลาทั้งนี้ขึ้นกับภาวะโภชนาการ ปริมาณ
แคลเซียมความสมดุลของฮอร์โมนและวัย
โดยทั่วไปร่างกายจะพยายามอย่างเต็มที่ในการที่จะรักษาระดับ
แคลเซียมในเลือดให้ปกติเสมอเพื่อให้อวั
ได้อย่างปกติเปรี
ก็คือ จำนวนเงินที่ติดกระเป๋าอยู่สำหรับใช้จ่ายในแต่ละวันโดย
แคลเซียมส่วนที่ถูกขับออกทางปัสสาวะและแคลเซียมที่ใช้เพื่อ
การซ่อมแซมกระดู
ในกระดูกเสมือนเงินฝากในธนาคาร แคลเซียมรับจากอาหาร
เสมือนรายได้ประจำวั
เก็บในธนาคารซึ่งเปรี
ถ้ารายได้น้อยกว่ารายจ่ายก็ต้
จ่
ธนาคารก็จะร่
แคลเซียมไม่พอเพียงต่อความพยายามรั
ปกติ จึงต้องละลายแคลเซียมจากกระดูกมาเพิ่มให้กับเลือดทำ
ให้แคลเซียมในกระดูกค่อยๆลดลงสุดท้ายแคลเซียมหรือเงินที่ติด
กระเป๋าอยู่ก็ลดลงจนไม่พอใช้นั่นเอง ซึ่งจากการศึกษาพบว่าการ
สะสมแคลเซียม ของร่างกายมนุษย์นั้นเริ่มตั้
ครรภ์มารดาโดยในแต่ละวัยร่
เซียม ในระดับที่แตกต่างกัน ดังนี้
► เด็กแรกเกิด-9ขวบ มีความสามารถในการสะสมแคลเซียมได้
100มิลลิกรัม/น้ำหนักตัว/วัน
► เด็กอายุ 10 ขวบมีความสามารถในการสะสมแคลเซียมได้ 100
-150 มิลลิกรัม/น้ำหนักตัว/วัน
► ช่วงวัยรุ่น มีความสามารถในการสะสม แคลเซียม ได้ 200-
400มิลลิกรัม/น้ำหนักตัว/วัน
► ชายและหญิงอายุ 18 ปี มีความสามารถในการสะสมแคลเซียม
ได้ 50-100 มิลลิกรัม/น้ำหนักตัว/วัน
► ผู้ใหญ่อายุ 30 ปี มีความสามารถในการสะสมแคลเซียมได้ 0
มิลลิกรัม/น้ำหนักตัว/วัน ซึ่งหมายความว่าหลังจากอายุ 30 ปีไป
แล้ว ร่างกายจะไม่สะสมแคลเซียม อีกต่อไป จึงต้องมีการเติม
แคลเซียมให้ร่างกายเพื่อรักษาระดับแคลเซียม ในกระดูก
ด้วยคุณสมบัติการทำงานของแคลเซียมดังกล่าวนับได้ว่าแคล
เซียมมีประโยชน์ต่อร่างกายของมนุษย์
สภาวะของมนุษย์นั้นแคลเซียม ได้ให้ประโยชน์ในลักษณะต่างๆ
กันดังนี้
ความต้องการของคนแต่ละวัย
หญิงตั้งครรภ์
สำหรับหญิงมีครรภ์แล้ว แคลเซียมนับได้ว่าเป็นแร่ธาตุที่สำคัญต่อ
สภาวะการตั้งครรภ์อย่างมากโดยหญิงตั้งครรภ์จำเป็นต้องได้
แคลเซียมมากกว่าคนธรรมดาเป็นพิเศษ เนื่องจากจะต้องถ่าย
ทอดแร่ธาตุ
ทารกในครรภ์ดังนั้นหญิงมีครรภ์จึงมี
แคลเซียมถ้าไม่สามารถบริโภคอาหารที่ให้
เพียงพอต่อทั้งแม่และลูกได้ บ่อยครั้งจึงพบว่าหญิงมีครรภ์
การกล้ามเนื้อปวดเกร็
บริเวณน่อง โดยจะเกิดขึ้นทั้งๆที่ไม่ได้ออกกำลังกายหรือเดิ
อันเป็นผลมากจากการขาด แคลเซียม นั่นเอง จากการศึกษาพบ
ว่าหญิงตั้งครรภ์
การตั้งแต่
ชั
แร่ธาตุที่จำเป็นยิ่งต่
พั
ษาเสถียรสภาพความหนาแน่นกระดูกในแม่ซึงจะช่วยลดความ
เสี่ยงในการเกิ
วัยเด็ก
เด็กๆ ต้องการแคลเซียมมากกว่าวัยผู้ใหญ่และวัยสูงอายุ เพื่อนำ
มาเสริมสร้างความแข็งแรงให้แก่กระดูกและฟัน และส่วนอื่นๆเพื่อ
ใช้เป็นโครงสร้างของร่
พูดจะช้าแต่จะเพิ่
ว่าถ้าปริมาณแคลเซียมในร่างกายเด็กต่ำ จะทำให้ขบวนการสะสม
เกลือแร่
โรคกระดูกอ่อนหรื
ออกบริ
นอนไม่หลับ กระดูกขาของเด็กที่ได้รับแคลเซียมไม่เพียงพอเมื่อ
รับน้ำหนักตัวที
โครงโค้งงอกระดูกเชิงกรานมีรูปร่างผิดปกติ
ขึ้นกั
การผ่าตัดใหญ่เท่านั้
รูปแบบการบริโภคให้
การให้เพียงพอเพื่อพัฒนาความหนาแน่นของกระดูกให้การเติบ
โตของเด็กเป็นปกติ อีกทั้งยังเป็นส่วนสำคัญที่ช่
การเป็นโรคเกี่
วัยหนุ่มสาว
จากการศึกษาวิจัยแสดงว่า ช่วงอายุ 11-24 ปีเป็นช่วงที่ร่างกาย
ดำเนินขบวนการก่อรูปกระดูกโดยถ้าร่างกายได้รับ แคลเซียมใน
ปริมาณที่ต่ำกว่าร่างกายต้
ภายหลั
อาการเจ็บกระดูกเจ็บกล้ามเนื้อ และเมื่อประสบกับการกระดูก
หัก กระดูกจะสมานให้เหมือนเดิมได้ช้
ระดับการบริโภคอาหารให้
การเพื่อป้องกันโรคเกี่
ภายหลังของช่วงชีวิต โดยถ้าเราได้รับ แคลเซียม ตั้งแต่อยู่ในวัย
หนุ่มสาวหรือกลางคนอย่างสม่ำเสมอและพอเพียงอายุการสึก
หรือผุกร่อนตามธรรมชาติก็จะยืดออกไปได้อีกนานกว่าคนที่อยู่
ในวัยเดียวกันที่บริโภคแคลเซียมไม่เพียงพอในวัยเด็กและวัย
หนุ่
วัยสูงอายุุ
คนเราปกติจะมีโอกาสสูญเสียแคลเซียมจากกระดูกเมื่อเรามีอายุ
มากขึ้นเพราะว่าเมื่ออายุเกินกว่า 30 ปีแล้ว ร่างกายจะไม่สะสม
แคลเซียมอีกต่อไปโอกาสเผชิญกับโรคเกี่ยวกับกระดู
ร่างกายไม่ได้รับแคลเซียมอย่างเพียงพอโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
หญิงวัยหมดประจำเดือนซึ่งการศึกษาพบว่าร่างกายจะสูญเสียกระ
ดูกในช่
การลดลงของฮอร์โมน oestrogens และประสิทธิภาพในการสร้าง
Vitamin D ก็ลดลงตามวัยที่เพิ่มมากขึ้น จึงมีแนวโน้มจะเป็นโรค
กระดูกพรุนสูงโดยเป็นโรคที่เป็
เซียม ซึ่งบางครั้งอาจทำให้กระดูกหั
ตั
กระดูกต้นขา และกระดูกแขนท่อนนอกได้อีกด้วย โดยโรคดัง
กล่าวจะไม่
หักดังนั้นคนในวัยสูงอายุที่มี
อย่างเพียงพอจะช่วยยับยั้งการสูญเสียกระดู
เผชิญกับการผุกร่อนของกระดู
เผชิญกับโรคที
อาจไม่
หรับคนทุกเพศทุ
แคลเซียม ของร่างกายจะแตกต่างกันในแต่
ภาพแห่งชาติ
ปริมาณของแคลเซียม ที่เหมาะสมในแต่ละวัย ดังนี้
ปริมาณแคลเซียมที่ควรได้รับต่
► เด็ก (1-10 ปี) ควรได้รับ 800– 1,000 มิลลิกรัมต่อวัน
► วัยรุ่น (11-25 ปี) ควรได้รับ 1,000 มิลลิกรัมต่อวัน