สุขภาพที่ดีมันมีความจำเป็นต่อขบวนการแตกของโมเลกุลโปรตีน
ไขมัน และ คาร์โบไฮเดรตรองจาก แคลเซียม แล้ว โครเมียม เป็น
แร่ธาตุที่ได้รับความนิยมมากสำหรับคนอเมริกันที่รับประทานเป็น
ประจำและยังเป็นที่ร่างกายต้องการโครเมียมในปริมาณ 50 – 200
ไมโครกรัมต่อวัน โครเมียม มีส่วนในการช่วยรักษาปริมาณน้ำตาล
ในร่างกายให้คงที่ (ในขบวนการย่อยสลายคาร์โบไฮเดรต)ในงาน
วิจัยพบว่า โครเมียม เป็นส่วนประกอบของสารที่เรียกว่า GTF
(Glucose tolerance factor)โดยทำงานร่วมกับไนอาซิน และกรด
อะมิโน อีกหลายชนิด นอกจากนั้นโครเมียมอาจมีบทบาทในการ
เพิ่ม HDL หรือ คลอเรสเตอรอลชนิดดี และลดระดับคลอเรสเตอ
รอล ทั้งหมด
โครเมียมจะกระตุ้นการทำงานของเอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการ
เปลี่ยนน้ำตาลกลูโคสให้ เป็นพลังงานและขบวนการสังเคราะห์
กรดไขมันและคลอเรสเตอรอล จึงดูเหมือนว่า โครเมียม จะเพิ่ม
ประสิทธิภาพของอินซูลิน และการจัดการกับน้ำตาลกูลโคส ป้อง
กันการเกิดน้ำตาลในเลือดต่ำ (เพราะว่ามีอินซูลินมากเกินไป)
หรือ โรคเบาหวาน(เพราะว่ามีอินซูลินน้อยเกินไป)
จากการศึกษาพบว่าโครเมียม แบบที่เรียกว่า โครเมียมพิกโคลิเนต
(Chromium Picolinate) มีบทบาทในการเปลี่ยนแปลงปริมาณ
ของไขมันในร่างกายโดยพบว่า โครเมียมพิกโคลิเนต อาจจะลด
ปริมาณไขมัน และกระตุ้นการสร้างมวลกล้ามเนื้อ โดยมีงานวิจัยที่
ทดลองให้โครเมียมพิกโคลิเนต ขนาด 400 ไมโครกรัมต่อวันกับ
อาสาสมัครเป็นระยะเวลา 3 เดือนพบว่ามีการลดลงของปริมาณ
ไขมันในร่างกาย และน้ำหนักร่างกาย อย่างไรก็ตาม การศึกษาอื่น
ก็ไม่สามารถยืนยันผลของโครเมียมพิกโคลิเนตต่อการเปลี่ยน
แปลงนี้ได้
ประโยชน์ของโครเมียม
คนส่วนใหญ่ไม่จำเป็นต้องรับประทานอาหารเสริมโครเมียมเลย
หากสามารถรับประทานได้จากอาหารได้อย่างเพียงพอ แต่ทั้งนี้
ในปัจจุบันอาหารที่เรารับประทานมักจะผ่านกรรมวิธีมามากจนทำ
ให้สารอาหารต่างๆ รวมทั้ง โครเมียมถูกขจัดออกไปจากอาหาร
ทำให้ในบางรายอาจจะจำเป็นต้องพิจารณารับประทานโครเมียม
เป็นอาหารเสริม เหมือนกับวิตามินตัวอื่นๆ
ลดระดับคลอเรสเตอรอลในร่างกาย
จากหลักฐานการศึกษาวิจัยพบว่าโครเมียม
(ทั้งในรูปแบบพิกโคลิเนตและอื่นๆ)พบว่ามีผลในการลดระดับ คลอ
เลสเตอรอล ในร่างกาย โดยการมีบทบาทไปเพิ่ม HDL หรือ คลอ
เรสเตอรอลชนิดดี และ ลดระดับคลอเรสเตอรอล ทั้งหมด
ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและโรคเบาหวาน
ในผู้ป่วยโรค เบาหวาน แบบที่ 2 โครเมียมมีส่วนในการช่วยรักษา
ปริมาณน้ำตาลในร่างกายให้คงที่ (ในขบวนการย่อยสลายคาร์โบ
ไฮเดรต) ในงานวิจัยพบว่าอินซูลินที่หลั่งจากตับอ่อนจะมีความสัม
พันธ์กับระดับน้ำตาลในเลือด แต่ปัญหาคือเซลร่างกายผู้ป่วยไม่
ตอบสนองต่ออินซูลินโครเมียม เป็นส่วนประกอบของสารที่เรียกว่า
GTF(Glucose tolerancefactor) โดยทำงานร่วมกับไนอาซิน
และกรดอะมิโนอีกหลายชนิดจะไปช่วยกระตุ้นให้เซลร่างกายตอบ
สนองต่ออินซูลินได้ดียิ่งขึ้น ช่วยให้ระดับน้ำตาลเข้าสู่ระดับปกติ
มีการทดลองซึ่งเป็นการทดลองแบบที่ทั้งผู้ทดสอบและผู้ถูกทด
สอบจะไม่มีใครทราบเลยว่าได้ยาที่มีส่วนผสมของโครเมียมหรือ
ไม่มี เพื่อตัดตัวแปรด้านความรู้สึกของผู้เข้าการทดลองที่อาจจะ
มีผลต่อการวัดผลในประสิทธิภาพของโครเมียมซึ่งผลการทดลอง
สนับสนุนสรรพคุณด้านการลดน้ำตาลในเลือดของ โครเมียมเนื่อง
จากโครเมียมช่วยในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และช่วยใน
การทำให้glucose tolerance ดีขึ้นดังนั้นการได้รับโครเมียมจึงมี
ประโยชน์ต่อผู้ป่วยโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 คนที่มีอาการระดับน้ำ
ตาลในเลือดต่ำก็มีอาการดีขึ้น เมื่อได้รับโครเมียม 200 ไมโคร
กรัมต่อวัน
ช่วยเรื่องการลดน้ำหนัก
มีเพียงโครเมียมพิกโคลิเนตที่แสดงผลในเรื่องนี้คือมันไปช่วยเร่ง
การเผาผลาญไขมันในร่างกาย และไปเพิ่มมวลกล้ามเนื้อ มีการ
ศึกษาเมื่อปี 1998 โดยมีอาสาสมัครสุขภาพดีจำนวน 122 คนที่
เป็นสมาชิกของเฮลท์คลับต่างๆ ในเทกซัสได้รับโครเมียมจำนวน
400 ไมโครกรัมต่อวันของโครเมียมพิกโคลิเนต หรือยาหลอก
เป็นระยะเวลติดต่อกัน 3 เดือนคนที่ได้รับโครเมียม มีไขมันในร่าง
กายลดลง 6 ปอนด์ (2.7 กิโลกรัม) ขณะที่คนที่ได้รับยาหลอกลด
ลงเพียง 3 ปอนด์(1.3 กิโลกรัม)
นอกจากนี้จากผลการทดลองดังกล่าวจึงมีการใช้ โครเมียมพิกโค
ลิเนตในกลุ่มผู้รักการออกกำลังกายเพื่อที่จะช่วยเพิ่มมวลกล้าม
เนื้อ และลดไขมันในร่างกาย เมื่อรับประทานโครเมียมพิกโคลิเนต
ร่วมกับการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
แหล่งที่พบโครเมียม
แหล่งที่พบโครเมียมที่ดีที่สุด คือในยีสต์ (Brewer's yeast) นอก
จากนั้นก็ยังพบในเมล็ดธัญพืชและซีเรียลซึ่งปรกติจะถูกทำลายไป
ในระหว่างกระบวนการผลิตเบียร์บางยี่ห้อก็อาจจะมีโครเมียมใน
ปริมาณมาก
ใครที่จะขาดโครเมียม
เนื่องจากคนทั่วไปได้รับ โครเมียมในปริมาณที่ต่ำกว่าที่ US RDA
ได้แนะนำไว้คือ50 – 200 ไมโครกรัมต่อวัน และ ประมาณ 3 %
ของโครเมียม ในอาหารที่จะถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย คนทั่วไปควร
ได้รับโครเมียม เป็นอาหารเสริมการที่รับประทานอาหารประเภท
น้ำตาลและอาหารในกลุ่มคาร์โบไฮเดรตในปริมาณสูง ก็อาจจะทำ
ให้เกิดการขาดโครเมียม และเร่งให้เกิดโรคเบาหวานได้
พบว่า คนในกลุ่มผู้สูงอายุ นักกีฬาและหญิงมีครรภ์ เป็นกลุ่มที่
เสี่ยงต่อการขาดโครเมียม มากที่สุดเมื่อร่างกายขาด โครเมียม
จะมีอาการต่อไปนี้ คือ มีการเปลี่ยนแปลงระบบการเผาผลาญ
คาร์โบไฮเดรค เช่นimpaired glucose tolerance,glycosuria,
อาการระดับน้ำตาลสูงเมื่ออดอาหาร fasting hyperglycemia,
ระดับอินซูลินในเลือดสูงขึ้น และการทำงานของอินซูลินลดลง
(ซึ่งเหล่านี้ล้วนอาการเริ่มต้นของโรคเบาหวาน)
ขนาดที่แนะนำ
ปริมาณที่แนะนำโดยแพทย์ทั่วไปคือ 200 ไมโครกรัมต่อวัน
อาการข้างเคียง
ในปริมาณที่โครเมียมวางขายทั่วไป(50 – 300 ไมโครกรัมต่อวัน)
ไม่พบว่าก่อให้เกิด อาการเป็นพิษต่อร่างกาย (toxicity)อาหาร
เสริมโครเมียม อาจจะเพิ่ม หรือเข้าไปช่วยการทำงานของยารักษา
โรคเบาหวาน(เช่น อินซูลิน หรือยาลดน้ำตาลอื่นๆ) และอาจทำให้
เกิดอาการระดับน้ำตาลต่ำได้ ดังนั้น ผู้ป่วยโรคเบาหวาน จึงควร
ปรึกษา แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ก่อนที่จะทานอาหารเสริมโครเมียม
ผลต่ออาหารชนิดอื่นๆ
จากการศึกษาพบว่า วิตามินซีเพิ่มการดูดซึมของ โครเมียม จึงได้
มีการแนะนำให้รับประทานร่วมกันระหว่างวิตามินซี และ โครเมียม
หรือทานร่วมกับอาหารที่มีวิตามินซี สูงๆ
ข้อระวังในการใช้
► ผู้ป่วยโรค เบาหวาน ควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกรก่อนการรับ
ประทานเนื่องจากโครเมียม อาจจะไปมีผลทำให้ความต้องการอิน
ซูลิน หรือยาลดน้ำตาลในเลือดลดน้อยลงได้
► อย่ารับประทานพร้อมๆกับแคลเซียมคาร์บอเนต หรือยาลดกรด
ต่างๆในเวลาเดียวกันเพราะมันอาจจะไปรบกวนการดูดซึมของโคร
เมียมได้
► การรับประทานโครเมียมในปริมาณสูงๆ อาจจะไปรบกวนการ
ดูดซึมสังกะสี (Zinc) ซึ่งแก้ไขได้ด้วยการเพิ่มปริมาณการรับประ
ทานสังกะสีให้เพิ่มมากขึ้นแทน
ในร่างกายให้คงที่ (ในขบวนการย่อยสลายคาร์
วิจัยพบว่า โครเมียม เป็นส่วนประกอบของสารที่เรียกว่
(Glucose tolerance factor)โดยทำงานร่วมกับไนอาซิน และกรด
อะมิโน อีกหลายชนิด นอกจากนั้นโครเมียมอาจมีบทบาทในการ
เพิ่ม HDL หรือ คลอเรสเตอรอลชนิดดี และลดระดับคลอเรสเตอ
รอล ทั้งหมด
โครเมียมจะกระตุ้นการทำงานของเอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการ
เปลี่ยนน้ำตาลกลูโคสให้ เป็นพลังงานและขบวนการสังเคราะห์
กรดไขมันและคลอเรสเตอรอล จึงดูเหมือนว่า โครเมียม จะเพิ่ม
ประสิทธิภาพของอินซูลิน และการจัดการกับน้ำตาลกูลโคส ป้อง
กันการเกิดน้ำตาลในเลือดต่ำ (เพราะว่ามีอินซูลินมากเกินไป)
หรือ โรคเบาหวาน(เพราะว่ามีอินซูลินน้อยเกินไป)
จากการศึกษาพบว่าโครเมียม แบบที่เรียกว่า โครเมียมพิกโคลิเนต
(Chromium Picolinate) มีบทบาทในการเปลี่ยนแปลงปริ
ของไขมันในร่างกายโดยพบว่า โครเมียมพิกโคลิเนต อาจจะลด
ปริมาณไขมัน และกระตุ้นการสร้างมวลกล้ามเนื้
ทดลองให้โครเมียมพิกโคลิเนต ขนาด 400 ไมโครกรัมต่อวันกับ
อาสาสมัครเป็
ไขมั
ก็ไม่สามารถยืนยั
แปลงนี้ได้
ประโยชน์ของโครเมียม
คนส่วนใหญ่ไม่จำเป็นต้องรับประทานอาหารเสริมโครเมียมเลย
หากสามารถรับประทานได้
ในปัจจุบันอาหารที่
ให้สารอาหารต่างๆ รวมทั้ง โครเมียมถูกขจัดออกไปจากอาหาร
ทำให้
เป็นอาหารเสริม เหมือนกับวิตามินตัวอื่นๆ
ลดระดับคลอเรสเตอรอลในร่างกาย
จากหลักฐานการศึกษาวิจัยพบว่าโครเมียม
(ทั้งในรูปแบบพิกโคลิเนตและอื่นๆ)พบว่ามีผลในการลดระดับ คลอ
เลสเตอรอล ในร่างกาย โดยการมีบทบาทไปเพิ่ม HDL หรือ คลอ
เรสเตอรอลชนิดดี และ ลดระดับคลอเรสเตอรอล ทั้งหมด
ควบคุมระดับน้ำตาลในเลื
ในผู้ป่วยโรค เบาหวาน แบบที่ 2 โครเมียมมีส่วนในการช่วยรักษา
ปริมาณน้ำตาลในร่างกายให้
ไฮเดรต) ในงานวิจัยพบว่าอินซูลินที่หลั่
พันธ์กั
ตอบสนองต่ออินซูลินโครเมียม เป็นส่วนประกอบของสารที่เรียกว่
GTF(Glucose tolerancefactor) โดยทำงานร่วมกับไนอาซิน
และกรดอะมิโนอีกหลายชนิดจะไปช่วยกระตุ้นให้
สนองต่ออินซูลิ
มีการทดลองซึ่งเป็
สอบจะไม่มี
ไม่มี เพื่อตัดตัวแปรด้านความรู้สึ
มี
สนับสนุนสรรพคุ
จากโครเมียมช่วยในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และช่วยใน
การทำให้glucose tolerance ดีขึ้นดังนั้นการได้รับโครเมียมจึงมี
ประโยชน์ต่อผู้ป่วยโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 คนที่มีอาการระดับน้ำ
ตาลในเลื
กรัมต่อวัน
ช่วยเรื่องการลดน้ำหนัก
มีเพียงโครเมียมพิกโคลิเนตที่แสดงผลในเรื่องนี้คือมันไปช่วยเร่ง
การเผาผลาญไขมันในร่างกาย และไปเพิ่มมวลกล้ามเนื้อ มีการ
ศึกษาเมื่อปี 1998 โดยมีอาสาสมัครสุขภาพดีจำนวน 122 คนที่
เป็นสมาชิกของเฮลท์คลับต่
400 ไมโครกรัมต่อวันของโครเมียมพิกโคลิเนต หรือยาหลอก
เป็นระยะเวลติดต่อกัน 3 เดือนคนที่ได้รับโครเมียม มีไขมันในร่าง
กายลดลง 6 ปอนด์ (2.7 กิโลกรัม) ขณะที่คนที่ได้รับยาหลอกลด
ลงเพี
นอกจากนี้จากผลการทดลองดังกล่าวจึงมีการใช้ โครเมียมพิกโค
ลิเนตในกลุ่มผู้รักการออกกำลังกายเพื่อที่จะช่วยเพิ่มมวลกล้าม
เนื้อ และลดไขมันในร่างกาย เมื่อรับประทานโครเมียมพิกโคลิเนต
ร่วมกับการออกกำลังกายอย่างสม่
แหล่งที่พบโครเมียม
แหล่งที่พบโครเมียมที่ดีที่สุด คือในยีสต์ (Brewer's yeast) นอก
จากนั้นก็ยังพบในเมล็ดธัญพืชและซีเรียลซึ่งปรกติจะถูกทำลายไป
ในระหว่างกระบวนการผลิตเบียร์บางยี่ห้อก็อาจจะมีโครเมียมใน
ปริมาณมาก
ใครที่จะขาดโครเมียม
เนื่องจากคนทั่วไปได้รับ โครเมียมในปริมาณที่ต่ำกว่าที่ US RDA
ได้แนะนำไว้คือ50 – 200 ไมโครกรัมต่อวัน และ ประมาณ 3 %
ของโครเมียม ในอาหารที่จะถูกดูดซึมเข้าสู่ร่
ได้รับโครเมียม เป็นอาหารเสริมการที่รับประทานอาหารประเภท
น้ำตาลและอาหารในกลุ่มคาร์
ให้เกิดการขาดโครเมียม และเร่งให้เกิดโรคเบาหวานได้
พบว่า คนในกลุ่มผู้สูงอายุ นักกีฬาและหญิงมีครรภ์ เป็นกลุ่มที่
เสี่ยงต่อการขาดโครเมียม มากที่สุดเมื่อร่างกายขาด โครเมียม
จะมีอาการต่อไปนี้ คือ มีการเปลี่ยนแปลงระบบการเผาผลาญ
คาร์
อาการระดับน้ำตาลสูงเมื่
ระดับอินซูลินในเลือดสูงขึ้น และการทำงานของอินซูลินลดลง
(ซึ่งเหล่านี้ล้วนอาการเริ่มต้
ขนาดที่แนะนำ
ปริมาณที่แนะนำโดยแพทย์ทั่วไปคือ 200 ไมโครกรัมต่อวัน
อาการข้างเคียง
ในปริมาณที่โครเมียมวางขายทั่วไป(50 – 300 ไมโครกรัมต่อวัน)
ไม่พบว่าก่อให้เกิด อาการเป็นพิษต่อร่างกาย (toxicity)อาหาร
เสริมโครเมียม อาจจะเพิ่ม หรือเข้าไปช่วยการทำงานของยารักษา
โรคเบาหวาน(เช่น อินซูลิน หรือยาลดน้ำตาลอื่นๆ) และอาจทำให้
เกิดอาการระดับน้ำ
ปรึกษา แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ก่อนที่จะทานอาหารเสริมโครเมียม
ผลต่ออาหารชนิดอื่นๆ
จากการศึกษาพบว่า วิตามินซีเพิ่มการดูดซึมของ โครเมียม จึงได้
มีการแนะนำให้รับประทานร่
หรือทานร่วมกับอาหารที่มีวิตามินซี สูงๆ
ข้อระวังในการใช้
► ผู้ป่วยโรค เบาหวาน ควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกรก่
ประทานเนื่องจากโครเมียม อาจจะไปมีผลทำให้ความต้องการอิ
ซูลิน หรือยาลดน้ำตาลในเลื
► อย่ารับประทานพร้อมๆกับแคลเซียมคาร์บอเนต หรือยาลดกรด
ต่างๆในเวลาเดียวกันเพราะมันอาจจะไปรบกวนการดูดซึ
เมียมได้
► การรับประทานโครเมียมในปริมาณสูงๆ อาจจะไปรบกวนการ
ดูดซึมสังกะสี (Zinc) ซึ่งแก้ไขได้ด้วยการเพิ่มปริมาณการรับประ
ทานสังกะสีให้เพิ่มมากขึ้นแทน